Haijai.com


เจ้าตัวน้อยมีอาการไข้เลือดออก


 
เปิดอ่าน 11420

ไข้เลือดออก

 

 

ไข้เลือดออกเป็นโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ โรคนี้นอกจากจะเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทยแล้วยังเป็นปัญหาของสาธารณสุขทั่วโลก เพราะเด็กเล็กที่ได้รับเชื้อไข้เลือดออกนี้อาจเกิดอันตรายถึงชีวิต และยิ่งภูมิประเทศของไทยซึ่งตั้งอยู่ในเขตร้อนชื้นเอื้อต่อการแพร่พันธุ์ของยุงแล้วนั้น ยามที่ลูกๆ มีไข้ย่อมทำให้ผู้ปกครองเกิดความกังวลใจเป็นอย่างยิ่ง

 

 

เริ่มต้นที่นี่

 

1.เจ้าตัวน้อยมีไข้แบบใด

 

 มีไข้ต่ำ (37-38 องศา)

 

 

 มีไข้สูง (39-41 องศา)

 

 

2.เจ้าตัวเล็กมีอาการเหล่านี้หรือไม่

 

 มีตุ่มใสขึ้นตามตัว และคัน

 

 

 มีผื่นสีชมพูจางๆ ขึ้นบนใบหน้าและตามลำตัว

 

 

 หายใจเข้ามีเสียงวู๊บ ที่เกิดขึ้นจากการดูดลม หน้าเขียว

 

 

3.ความเป็นไปได้

 

 โรคอีสุกอีใส

 

 

 โรคหัดเยอรมัน

 

 

 โรคไอกรน

 

 

4.ข้อควรปฏิบัติ

 

 รีบไปพบแพทย์

 

 

5.เจ้าตัวเล็กมีไข้สูงรูปแบบใด

 

 มีไข้สูงเฉพาะเวลากลางคืน ช่วงกลางวันมีไข้ต่ำ ตัวรุมๆ

 

 

 มีไข้ทุก 2-3 วัน มีอาการหนาวสั่นร่วมด้วย

 

 

 มีไข้สูงลอยตลอดเวลา 2-7 วัน

 

 

6.เจ้าตัวเล็กมีอาการเหล่านี้หรือไม่

 

 ปวดหูอย่างรุนแรง

 

 

 น้ำมูกเหลือง ไอมีเสมหะไม่หายสักที

 

 

7.ความเป็นไปได้

 

 โรคหูชั้นกลางอักเสบ

 

 

 โรคไซนัสอักเสบ

 

 

8.ข้อควรปฏิบัติ

 

 พบแพทย์โดยด่วน

 

 

9.ความเป็นไปได้

 

 โรคไข้มาลาเลีย

 

 

10.ข้อควรปฏิบัติ

 

 พบแพทย์โดยด่วน

 

 

11.เจ้าตัวเล็กมีอาการเหล่านี้หรือไม่

 

 ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ

 

 

 หน้าแดง ปากแดง ไม่ค่อยไอ ไม่มีน้ำมูก คลื่นไส้ อาเจียน รับประทานได้น้อย บางครั้งมีจุดเลือดออกตามตัว หรือมีเลือดกำเดาไหล

 

 

 กระสับกระส่าย ซึมลง อ่อนเพลียมาก ตัวลายๆ ปลายมือปลายเท้าเย็น ชีพจรเต้นเบาและเร็ว ความดันโลหิต

 

 

12.ความเป็นไปได้

 

 โรคไข้หวัดใหญ่

 

 

 ข้อควรปฏิบัติ

 

 

 รีบไปพบแพทย์

 

 

13.ความเป็นไปได้

 

 โรคไข้เลือดออก: ระยะไข้

 

 

 ข้อควรปฏิบัติ

 

 

-เช็ดตัวลดไข้ด้วยน้ำธรรมดาหรือน้ำอุ่นบ่อยๆ

 

 

-ให้ยาลดไข้พาราเซตามอลชนิดรับประทานห่างกันไม่น้อยกว่า 4-6 ชั่วโมง ห้ามให้ยาฉีด ยาแอสไฟริน หรือไอบูโปรเฟน

 

 

-ให้รับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่ายรสไม่จัด ยกเว้นสีแดง ดำหรือน้ำตาล

 

 

-ถ้าไข้สูงติดต่อกันเกิน 2 วัน ต้องไปพบแพทย์ เพื่อรัดแขนและเจาะเลือดตรวจ

 

 

14.ความเป็นไปได้

 

 โรคไข้เลือดออก: ระยะช็อค

 

 

 ข้อควรปฏิบัติ

 

 

-ต้องอยู่ในการดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิด อันตรายถึงชีวิต รีบนำส่งโรงพยาบาล ระหว่างเดินทางให้ดื่มน้ำเกลือแร่หรือน้ำผลไม้ครั้งละน้อยๆ และบ่อยๆ

 

 

กลุ่มผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง

 

1.อายุน้อยกว่า 1 ปี

 

 

2.อ้วน

 

 

3.มีโรคประจำตัว: Thalassemia, G6PD deficiency

 

 

4.มีเลือดออกมาก

 

 

ข้อมูลจาก: สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี

ขอบคุณ คุณวารุณี วัชรเสวี

หัวหน้าหอผู้ป่วยไข้เลือดออก

(Some images used under license from Shutterstock.com.)